โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก

เนื้อเยื่อ ศึกษาแล้วแสดงความคิดเห็นด้วยนะคะ

VDO  เนื้อเยื่อพืช 
นักเรียนสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้นะคะ

 

โครงสร้างและหน้าที่ของราก

VDO  โครงสร้างและหน้าที่ของราก 
นักเรียนสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้นะคะ

โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น

VDO โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
นักเรียนสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้นะคะ

 

 

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ

VDO โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
นักเรียนสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้นะคะ

คำชี้เจง 
1. นักเรียนศึกษาความรู้จากเนื้อหาดังนี้
1.1  เนื้อเยื่อ
1.2 โครงสร้างและหน้าที่ของราก
1.3 โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
1.4 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
2.  เมื่อนักเรียนศึกษาความรู้แต่ละเนื้อหาเป็นประโยคสั้น 1 ประโยคต่อบทเรียน

 

117 Responses

  1. เนื้อหาชัดเจนดีคะ

  2. โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
    ประกอบด้วยส่วนต่างๆมากมายและมีหน้าที่แตกต่างกันไป
    ราก ใบ ดอก ผล

  3. ได้ศึกษาเนื้อหาโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกก็เข้าใจนะคะ

  4. อ่านแล้วเข้าใจเพิ่่มมากขึ้นค่ะ และสามารถทำข้อสอบได้

  5. สไลด์น่าสนใจดีค่ะ

  6. เข้าใจมากค่ะ

  7. อ่านแล้วทำให้เข้าใจเพิ่่มมากขึ้นค่ะ

  8. เนื้อหาดีมากค่ะ

  9. อ่านแล้วเข้าใจดีค่ะ

  10. อ่านแล้วเข้าใจง่าย เนื้อหาดี

  11. อ่านแล้ว…เข้าใจมากขึ้นคะ ได้ศึกษาและทำความรู้เอง น่าจะทำข้อสอบได้คะ

  12. อ่านแล้วมีความเข้าใจมากขึ้นคะ

  13. ได้ศึกษาเนื้อหาโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกที่บล๊อกนี้แล้วทำให้เข้าใจมากขึ้นและชัดเจนขึ้นค่ะ

  14. อ่านแล้วคร๊ทำให้ได้ทบทวนความรู้ที่ผ่านชอบมากคร๊

  15. ได้ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของราก และ ลำต้นค่ะ

  16. เนื้อหาและรายละเอียดชัดเจนมากค่ะ อ่านแล้วเข้าใจมากค่ะ

  17. อ่านเเล้วเข้าใจค่ะ
    แต่จำไม่ค่อยได้

  18. ได้รู้ถึงโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกของแต่ละส่วนว่าเป็นอย่างไร

  19. อ่านแล้วเข้าใจง่าย เนื้อหาดี
    เนื้อหาน่าสนใจค่ะ ดีค่ะ

  20. ช่วยให้เข้าใจขึ้นเยอะเลยคะ

  21. อ่านแล้วได้รู้ และเข้าใจ ถึง โครงสร้างส่วนต่างๆของพืชตั้งแต่ยอด จรด รากเลยค่ะ

  22. ได้ความรู้เพิ่่มเติมและเข้าใจมากขึ้นค่ะ

  23. ได้รับความรู้เรื่องโครงสร้าง หน้าที่ และส่วนประกอบของพืช ที่มีลักษณะคล้ายกันในหลายๆส่วนของลำต้นพืช

  24. ได้ความรู้ และเข้าใจมากขึ้นครับ

  25. อ่านแล้วเข้าใจมากเลยค่ะ

  26. รู้และเข้าใจโครงสร้างเกี่ยวกับพืชดอกมากเลยค่ะ

  27. ได้ความรู้เพิ่มเติมเยอะมากค่ะ

  28. เข้าใจมากขึ้นเนื้อหาดีค้ะ

  29. อ่านแล้วเข้าใจมากขึ้นค่ะ

  30. มันดีมากกกกกกก

  31. เข้าใจเรื่องพืขดอกมากเลยค่ะ

  32. เข้าใจในเรื่องพืชดอกและส่วนประกอบต่างๆของพืชและได้ทบทวนไปในตัวด้วยค่ะ

  33. ได้ทบทวนเรื่องที่เรียนด้วยค่ะ

  34. เนื้อหาในหน่วยนี้เป็นเนื้อหาที่ชัดเจน และเข้าใจได้ง่ายค่ะ

  35. เนื้อเยื่อพืช แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
    1. เนื้อเยื่อเจริญ
    2. เนื้อเยื่อถาวร

  36. รากฝอย พบใน รากข้าว ข้าวโพด

  37. ใบเดี่ยว เป็นใบที่ประกอบด้วยตัวใบเพียงใบเดียวติดอยู่กับก้านใบ เช่น ใบอ้อย ลำใย

  38. intercalary meristem อยู่บริเวณเหนือข้อ

  39. รากหายใจ พบใน โกงกาง กล้วยไม้ ผักกระเฉด แพงพวยน้ำ

  40. ใบสะสมอาหาร เช่น ใบว่านหางจระเข้ หัวหอม

  41. Rhizome เช่น ขิง ข่า พุทธรักษา กระชาย ขมิ้น

  42. Fiber
    ช่วยให้ความแข็งแรงแก่พืช

  43. รากหายใจ พบใน โกงกาง กล้วยไม้ ผักกระเฉด แพงพวยน้ำ

  44. ใบแพร่พันธุ์ เช่น ใบของต้นตายใบเป็น

  45. twiner ไต่ขึ้นที่สูงโดยใช้ลำต้นบิดเป็นเกลียว เช่น ถั่ว เถาวัลย์

  46. seive tube member เป็นเซลล์เดี่ยวๆรูปทรงกระบอกยาวทำหน้าที่เป็นท่อลำเลียงอาหาร

  47. collenchyma มีผนังเซลล์ค่อนข้างจะหนา พบมากตามก้านใบ เส้นกลางใบ

  48. companion cell ทำหน้าที่คอยช่วยเหลือในกรทำงานของซีพทิว

  49. Cork ทำหน้าที่ ช่วยป้องกันการระเหยของน้ำ ป้องกันความร้อน

  50. epidermis เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่รอบนอกสุดของส่วนต่างๆของพืช มีสารคิวทิน ( cutin )มาเคลือบ

  51. intercalary meristem อยู่บริเวณเหนือข้อ

  52. Lateral meristem เรียกอีกอย่างว่า แคมเบียม (Cambium)

  53. intercalary meristem อยู่บริเวณเหนือข้อ

  54. รากฝอย พบใน รากข้าว ข้าวโพด

  55. รากปรสิต เช่น รากกาฝาก ฝอยทอง

  56. รากสะสมอาหาร หัวแครอท หัวผักกาด เช่น มันเทศ รักเร่ กระชาย มันสำปะหลัง

  57. รากเกาะ พบใน รากพลู พริกไทย กล้วยไม้ พลูด่าง

  58. รากสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น รากกล้วยไม้ รากไทร

  59. รากหนาม เช่น รากของปาล์ม

  60. รากค้ำจุน พบใน แสม โกงกาง

  61. รากเกาะ พบใน รากพลู พริกไทย กล้วยไม้ พลูด่าง

  62. หน้าที่ของราก คือ
    ดูดและลำเลียง น้ำและแร่ธาตุ

  63. ใบดอก เช่น หน้าวัว อุตพิด คริสต์มาส เฟื่องฟ้า

  64. ทุ่นลอย เช่น ผักตบชวา

  65. ใบประดับ เช่น กาบปลีของกล้วย กาบเขียง

  66. ใบหนาม เช่น เหงือกปลาหมอกระบองเพชร มะขามเทศ ศรนารายณ์

  67. ใบแพร่พันธุ์ เช่น โคมญี่ปุ่น

  68. ใบจับแมลง เช่น ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง ต้นกาบหอยแครง

  69. root climber เช่น พลูด่าง พริกไทย

  70. Corm (หัวมีใบเกล็ด) ลำต้นตั้งตรงมีข้อปล้องมีใบเกร็ดบริเวณข้อ
    เช่น เผือก แห้ว

  71. ลำต้นเลื้อย (creeping stem) เรียกว่า ไหล (stolon) เช่น
    สตรอเบอรี ผักกระเฉด

  72. Tuber ลำต้นสั้นและอวบสั้น ๆ ประกอบด้วยปล้อง 3-4 ปล้อง บริเวณตามักบุ๋มลงไปและสามารถแตกเป็นต้นใหม่งอกขึ้นมาเหนือดินได้ เช่น มันฝรั่ง มันกลอย

  73. Bulb (ใบเกล็ดสะสมอาหาร) เช่น หอม กระเทียม พลับพลึง

  74. ลำต้นมีลักษณะที่แตกต่างจากราก คือ มีข้อ ปล้อง

  75. spine หรือ Thorny stem ลำต้นที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นหนามหรือ hook เช่น เฟื่องฟ้า มะนาว ส้ม กุหลาบ

  76. cladophyll ลำต้นที่แผ่แบนคล้ายใบมีสีเขียวทำหน้าที่สังเคราะห์แสง
    เช่น กระบองเพชร พญาไร้ใบ แก้วมังกร สนทะเล

ส่งความเห็นที่ ณัฐวรา ทิวาพัฒน์ เลขที่ 16 ม.5/1 ยกเลิกการตอบ